ด่วน! Copayment AIA มาแล้ว ซื้อประกันสุขภาพ ก่อน 20 มีนาคม 2568 ก่อนเงื่อนไขใหม่จะเริ่มใช้!

เคลมเยอะ ส่งผลในปีต่ออายุของคุณ

มือถือสองเครื่องแสดงการร่วมจ่ายCopaymentเอไอเอ
อย่ารอจนสายเกินไป! หลังวันที่ 20 มีนาคม 2568 เป็นต้นไป การทำประกันสุขภาพจะมี เงื่อนไขใหม่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายร่วม (Copayment) ซึ่งอาจทำให้คุณต้องจ่ายค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลมากขึ้น

สิ่งที่คนเข้าใจผิดเกี่ยวกับเงื่อนไข Copayment มีนาคม 2568 คือ

❌Copayment หรือโดนร่วมจ่ายตั้งแต่ปีแรกที่ซื้อ

ไม่ใช่ค่า ไม่ได้โดนตั้งแต่แรก แม้ว่าจะซื้อประกันสุขภาพหลัง 20 มีนาคม 2568 ประกันยังจ่าย 100% ตามวงเงินที่ทำไว้ค่ะ ตั้งแต่ปีแรก แต่จะมีผลกับปีต่ออายุเท่านั้น แต่เราควรซื้อก่อนอยู่ดี เพราะจะได้ไม่ต้องมานั่งกังวลว่าเคลมเยอะแล้วจะโดน Copayment ตรงนี้

✅ Copayment ในปีต่ออายุ (หากเคลมเข้าเงื่อนไข)

หากถือประกันไปแล้ว ไม่เคยเคลมเลย หรือเคลมไม่เข้าเงื่อนไข ก็ไม่โดน Copayment ในปีต่ออายุจ้า และเงื่อนไขนี้ก็ดูปีต่อปีค่ะ

ทำไมต้องรีบตัดสินใจก่อน 20 มีนาคม 2568?

ติดต่อเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติมหรือสมัครได้ทันที!
เพราะสุขภาพไม่รอใคร และโอกาสดี ๆ ก็ไม่คงอยู่ตลอดไป
⏳ต้องอนุมัติก่อน 20 มีนาคม 2568! รีบตัดสินใจวันนี้ เพื่อความอุ่นใจในวันข้างหน้า!
ดูแผนประกันเหมาจ่าย AIA Health Happy
ตัวแทนคุณวุฒิ ตัวแทนคุณวุฒิระดับโลก
ตัวแทนอิ๋ม ยินดีให้ข้อมูลค่ะ 
แอดไลน์มานะคะ

เกณฑ์การเข้าเงื่อนไข Copayment

กรณีที่ 1: การเจ็บป่วยเล็กน้อย (Simple diseases)

การเคลมโรคที่ไม่รุนแรง (Simple Diseases) หรืออาการที่ไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล 

ตัวอย่างการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Simple Diseases)

กรณีที่ 2: การเจ็บป่วยโรคป่วยทั่วไป (ไม่รวมโรคร้ายและการผ่าตัดใหญ่)

การเคลมสำหรับโรคทั่วไป แต่ไม่นับรวม การผ่าตัดใหญ่และโรคร้ายแรง จำนวนการเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง ต่อปีกรมธรรม์ 

และ อัตราการเคลมมากกว่าหรือเท่ากับ 400% ของเบี้ยประกันสุขภาพ จะต้องร่วมจ่าย30% (ทุกค่ารักษาในปีถัดไป)

กรณีที่ 3: หากเข้าเงื่อนไขทั้งในกรณีที่ 1 และ 2

การเคลมเข้าเงื่อนไข กรณีที่ 1 และ กรณีที่ 2  จะต้องจ่ายร่วม 50% (ทุกค่ารักษาในปีถัดไป)

ตัวอย่างรายชื่อโรคร้ายแรงและผ่าตัดใหญ่ ที่การเคลมจะไม่ถูกนับเข้าเงื่อนไข Copayment

FAQ รวมคำถามเกี่ยวกับ COPAYMENT จาก สมาคมประกันชีวิตไทย

สำหรับกรมธรรม์ใหม่ที่เริ่มคุ้มครองตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2568

1. เงื่อนไข Copayment มีผลทั้ง IPD และ OPD ใช่หรือไม่

ไม่มีผลต่อการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (OPD) ใช้เฉพาะกับการรักษาแบบผู้ป่วยใน (IPD)

บริษัทประกันจะมีหนังสือแจ้งหน้ากรมธรรม์หรือใบรับรองการจ่ายเบี้ยไม่เกินกว่า 15 วัน หากมีการสมัครหรือมีผลบังคับหลังจากวันเริ่มบังคับใช้เงื่อนไขฯ จะมีการแนบเอกสารเพิ่มเติม ในกรมธรรม์หรือหนังสือรับรองการจ่ายเบี้ย (Endorsement) เพื่อแจ้งรายละเอียด การมีเงื่อนไข Copayment

บริษัทประกันจะมีหนังสือแจ้งหน้ากรมธรรม์หรือใบรับรองการจ่ายเบี้ยไม่เกินกว่า 15 วัน หากมีการสมัครหรือมีผลบังคับหลังจากวันเริ่มบังคับใช้เงื่อนไขฯ จะมีการแนบเอกสารเพิ่มเติม ในกรมธรรม์หรือหนังสือรับรองการจ่ายเบี้ย (Endorsement) เพื่อแจ้งรายละเอียด การมีเงื่อนไข Copayment

เงื่อนไข Copayment จะปรับเปลี่ยนได้เมื่อสถานการณ์การเคลมของแต่ละบุคคล โดยบริษัทจะพิจารณาทุกรอบปีกรมธรรม์

กรณีเข้าเงื่อนไข Copayment เนื่องจากเข้าเกณฑ์ Copayment (จำนวนการรักษาและอัตราการเคลมเกินกำหนด) จะไม่มีการลดเบี้ยประกันภัย

ผู้เอาประกันต้องมีส่วนร่วมจ่ายในกรณีที่เป็นการรักษาแบบผู้ป่วยใน (IPD) ที่เกิดขึ้น รวมทั้งการรักษาโรคร้ายแรง และการผ่าตัดใหญ่

Copayment คือ ผู้เอาประกันภัยจะต้องมีส่วนร่วมจ่ายตามเปอร์เซ็นของค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นตามที่ระบุไว้

Deductible คือ การที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบจ่ายค่ารักษาพยาบาลส่วนแรกตามจำนวนที่ระบุไว้ในแบบประกันภัย

ผู้เอาประกันภัยจะต้องจ่าย Deductible ส่วนแรกก่อน และนำสิ่งที่เหลือมาคำนวณ Copayment 30% หรือ 50% แล้วแต่กรณี

(กรุณาศึกษารายละเอียดให้ครบถ้วน เอกสารมีทั้งหมด 7 หน้า)

Image of AIA Agent Eim Call to Action

Ask Eim

Image of Flavicon AIA Agent Eim
อยากปรึกษาหรือถามคำถามเกี่ยวกับประกัน?
อยากปรึกษาหรือถามคำถามเกี่ยวกับประกัน?

บทความต่างๆ

แบบประกันต่างๆ

เว็บไซต์นี้ไม่ใช่เว็บไซต์ของบริษัท เอไอเอ จำกัด (เอไอเอ) หากต้องการติดต่อ เอไอเอ กรุณาคลิกa  www.aia.co.th

และให้เราติดต่อกลับหาคุณ

ตัวแทนคุณวุฒิ ตัวแทนคุณวุฒิระดับโลก
สอบถามเพิ่มเติม